วันพุธที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2558

ศักยภาพ
หมายถึง ความสามารถสูงสุดที่เป็นไปได้ของบุคคลนั้นถ้าหากบุคคลนั้นได้รับการบำรุงส่งเสริมอย่างเต็มที่และถูกทางทั้งทางกายและทางจิต
แฮริสัน คล๊าค
สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของร่างกาย (physical ability) ที่จะประกอบกิจกรรมหนัก (intensive activity)ได้เป็นระยะเวลานาน (long period) โดยไม่มีการพักและได้ผลดี  (high quality) ยกตัวอย่างเช่น ชายสองคนเริ่มลงมือตัดต้นไม้ในลักษณะเดียวกัน เมื่อเวลาเท่าๆ กัน ปรากฏว่า ชายคนแรกตัดไปได้ 10 ท่อน ก็หมดแรงขอหยุด ในขณะเดียวกันชายคนที่สองยังสามารถตัดต่อไปได้อีกและหยุดเมื่อตัดได้ 20 ท่อน เมื่อเปรียบทั้งสองคนนี้จะทราบได้ทันทีว่า ชายคนที่สองมีสมรรถภาพทางกายดีกว่าคนแรก (วิชัย  วนดุรงค์วรรณ:2535)
โดนัล เค แมทธิวส์
สมรรถภาพทางกายหมายถึง ความสามามารถของแต่ละบุคคลที่จะประกอบกิจกรรมใดก็ตามที่ต้องอาศัย การทำงานของกล้ามเนื้อ (วิชัย  วนดุรงค์วรรณ:2535)
รอเรนซ์ และโรแนลด์
สมรรถภาพทางกายหมายถึง ส่วนหนึ่งของผลรวมของความสมบูรณ์ทางกาย คือ สมรรถภาพทางจิต อารมณ์ และสมรรถภาพทางสังคม สมรรถภาพทางกายมิได้เป็นเพียงความสามารถทางด้านร่างกาย ซึ่งหมายถึงการมีกายภาพที่สมบูรณ์ หรือรูปทรงที่สมส่วนเท่านั้น จึงสรุปได้ว่า สมรรถภาพทางกาย เป็นเพียงส่วนหนึ่งของความสมบูรณ์ทางกาย (วิชัย  วนดุรงค์วรรณ:2535)
นิดสัน และเจเวทท์
สมรรถภาพทางกายหมายถึง ความสามารถทางกายของแต่ละคนที่จะประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวัน โดยไม่เกิดความเหฯ็ดเหนื่อย หรือความอ่อนเพลีย ยังมีพลังและความแข็งแรงเหลือไว้พอที่จะประกอบกิจกรรมพิเศษ  หรือกิจกรรมที่ต้องทำในกรณีฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย(วิชัย  วนดุรงค์วรรณ:2535)
ฮอริส เอฟ เฟส
สมรรถภาพทางกายหมายถึง ผลรวมแห่งความสามารถของร่างกาย อันประกอบด้วยความแข็งแรง ความทนทาน ความเร็ว พลังและความว่องไว (วิชัย  วนดุรงค์วรรณ:2535)

พิชิต ภูตจันทร์
สมรรถภาพทางกาย หมายถึง สมรรถภาพทางกายเป็นความสามารถของบุคคลในอันที่จะใช้ระบบต่างๆ กระทำกิจกรรมใดๆ อันเกี่ยวกับการแสดงออก ซึ่งความสามารถทางด้านร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือได้หนักหน่วง เป็นเวลาติดต่อกันโดยไม่แสดงอาการเหน็ดเหนื่อยให้ปรากฏ และสามารถฟื้นตัวกลับสู่สภาพปกติได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว
ดังนั้น การเสริมสร้างศักยภาพครูหมายถึง งานที่ทำ เพื่อเพิ่มพูนให้คนที่เป็นครูอยู่แล้วให้ให้ได้เป็นครูที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวครูอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ใน ขณะนั้นๆ และให้ครูได้นำคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวออกมาใช้ ในการทำงานของครูได้สูงกว่าปกติธรรมดา
สรุปได้ว่า การเสริมสร้างศักยภาพครู คือ งานหรือเรื่องที่ทำ เกี่ยวกับคุณสมบัติของครูได้เพิ่มพูนขึ้นและให้ครูได้มีความสามารถ แสดงออกซึ่งคุณสมบัติที่ได้เพิ่มพูนแล้วนั้นออกมาใช้ในการทำงาน ของครูให้ได้สูงกว่าปกติธรรมดา
1. การพัฒนาด้านมาตรฐานวิชาชีพ
2. การพัฒนาด้านจรรยาบรรณของวิชาชีพ
3. การพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนาวิชาชีพ
4. การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและวิชาชีพ
การพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง
คุณภาพของครูไทย
ปัญหาการขาดความรับผิดชอบต่อนักเรียน
ครูอาชีพ หรือแค่คนที่ยึดอาชีพครู
 ครูไทยไม่มีความรับผิดชอบ
ปัญหาจากศีลธรรมและจริยธรรมครูไทย
ปัญหาจากการพิจารณาเงินวิทยฐานะ หรือเลื่อนขั้น
ปัญหาจากการรับครูอัตราจ้าง
ปัญหาการขาดแคลนครูที่มีคุณภาพ
ความหมายของศักยภาพและเจตคติต่อวิชาชีพครู
ครูจำเป็นต้องมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้ผลการพัฒนา จะเกิดขึ้นต่อตนเองโดยใช้รูปแบบทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เป็นตัวขับเคลื่อน จนเกิดเป็นการศึกษาตลอดชีวิต
การพัฒนาศักยภาพครูอย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างศักยภาพครู
เน้นการสร้างเอกภาพการพัฒนาที่ยึดโรงเรียนเป็นฐานการพัฒนา ส่งเสริมเครือข่ายพัฒนาครู และจัดระบบการสนับสนุนการพัฒนา ครูทั้งระบบ รวมทั้งจัดตั้งสถาบันพัฒนาและส่งเสริมครูคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
การสอนที่ดีที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงนั้น ผู้สอนจะต้องมีประสิทธิภาพ ของความเป็นครูในทุกๆด้าน เช่น การวางแผน การเลือกเทคนิควิธีการสอน ตลอดจนการจัดกิจกรรมการสอนต้องมีความเอาใจใส่ดูแลรับผิดชอบผู้เรียน มีเจตคติที่ดีต่องานสอนตลอดจนมีความกระตือรือร้นต่องานสอนที่รับผิดชอบ
ประสิทธิภาพการสอนของครู(ต่อ)
พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน 2542 ให้ความหมาย ของคำต่างๆไว้ดังนี้
สันติ บุญภิรมย์ ได้ให้ความหมายไว้ดังนี้
- คำว่า การเป็นคำนาม หมายถึง งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ
- คำว่า เสริมสร้างเป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่มพูนให้ดีขึ้น หรือมั่นคงยิ่งขึ้น
- คำว่า ศักยภาพเป็นคำนาม หมายถึง ภาวะแฝง อำนาจ หรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่างๆ อาจทำให้พัฒนาหรือให้ ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้
ศักยภาพ คือ สิ่งที่อยู่ในตัวอยู่แล้ว ซึ่งได้เป็นข้อกำหนด หรือเงื่อนไขหรือคุณสมบัติในการรับบุคคลเข้าทำงานต่างๆ
การเสริมสร้าง หมายถึง การเพิ่มเติมเรื่องที่มีอยู่ แล้วให้ได้คงอยู่ในระดับเดิมหรือให้มากยิ่งขึ้น

ดังนั้น การเสริมสร้างศักยภาพครูหมายถึง งานที่ทำ เพื่อเพิ่มพูนให้คนที่เป็นครูอยู่แล้วให้ให้ได้เป็นครูที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวครูอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ใน ขณะนั้นๆ และให้ครูได้นำคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวออกมาใช้ ในการทำงานของครูได้สูงกว่าปกติธรรมดา
สรุปได้ว่า การเสริมสร้างศักยภาพครู คือ งานหรือเรื่องที่ทำ เกี่ยวกับคุณสมบัติของครูได้เพิ่มพูนขึ้นและให้ครูได้มีความสามารถ แสดงออกซึ่งคุณสมบัติที่ได้เพิ่มพูนแล้วนั้นออกมาใช้ในการทำงาน ของครูให้ได้สูงกว่าปกติธรรมดา
1. การพัฒนาด้านมาตรฐานวิชาชีพ
2. การพัฒนาด้านจรรยาบรรณของวิชาชีพ
3. การพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนาวิชาชีพ
4. การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการและวิชาชีพ
ความหมายของเจตคติต่อวิชาชีพครู
เจตคติของบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจาก
1. ความอดทนและความรับผิดชอบ
2. ความไม่เป็นผู้ทำลายแห่งวิชาชีพ
3. รัก เมตตาและปรารถนาดีต่อผู้เรียน
4. ศรัทธาต่อวิชาชีพครู
อ้างอิง